Staphylococcus aureus เป็นแบคทีเรียที่รู้จักกันในนาม “staff” เป็นแบคทีเรียที่ไม่มีพิษภัย อาศัยอยู่บนผิวหนังหลายแห่ง เช่น บนใบหน้า, จมูก, ปาก, อวัยวะเพศและทวารหนัก
เมื่อเกิดบาดแผลหรือแตก จะด้วยเหตุผลใดก็ตาม แบคทีเรียนี้สามารถเข้าไปได้ตามบาดแผลและเกิดการติดเชื้อ
อัตราการรอด 80% เป็นผลของกลุ่มทดลองที่ได้รับเบต้ากลูแคน ส่วนกลุ่มที่ไม่ได้รับเสียชีวิตหมด
ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรค ให้คำแนะนําเพื่อลดการติดเชื้อดังนี้:
- ล้างมือด้วยสบู่ หรือใช้ยาล้างมือที่มีแอลกอฮอล์ผสม
- ปิดรอยแผลรอยขีดข่วนด้วยพลาสเตอร์ปิดแผลจนแผลหาย
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสบาดแผลหรือพลาสเตอร์คนอื่น
- หลีกเลี่ยงการใช้ของร่วมกัน เช่น ผ้าเช็ดตัว มีดโกน เป็นต้น
นอกจากทำ ให้ติดเชื้อบนผิวหนังแล้ว แบคทีเรียสตัฟฟ์ทำ ให้เกิดการติดเชื้อในกระแสเลือด, ในกระดูกและปอด (ปอดอักเสบ) ส่วนใหญ่การติดเชื้อสตัฟฟ์ที่รุนแรง มักรักษาด้วยยาปฏิชีวนะกลุ่มเพนนิซิลินอย่างไรก็ตาม กว่า 50 ปีแล้ว สตัฟฟ์บางตัวปรับตัวต่อต้านยาปฏิชีวนะ ซึ่งรวมถึงยาปฏิชีวนะในกลุ่มเพนนิซิลินที่ใช้กันทั่วไป จุลินทรีย์ที่ต่อต้านนี้เรียกว่า methicillin-resistant Staphylococcus aureus หรือ MRSA
ยาปฏิชีวนะที่ใส่ลงในอาหาร ให้สัตว์ประเภท วัว ควาย เป็ด ไก่ และหมูบริโภคเสมอ เป็นสาเหตุให้เกิดการต่อต้านยาปฏิชีวนะซึ่งไม่จำ เป็นต้องใช้ สมาคมแพทย์แห่งสหรัฐอเมริกา ลงรายการสถานการณ์บางอย่างที่เป็นสาเหตุต่อจุลินทรีย์สตัฟฟ์ เกิดจากเด็กหนุ่มและนักกีฬา การร่วมใช้ผ้าเช็ดตัว หรืออาศัยอยู่ในสภาพที่ไม่ถูกสุขลักษณะ มีความเสี่ยงในการสัมผัสกับ Staphylococcus
aureus เช่นเดียวกับผู้ที่มีระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอก็มีความเสี่ยงเช่นกัน
ผลิตภัณฑ์ เบต้ากลูแคน ทำหน้าที่กระตุ้นเม็ดเลือดขาว ให้ทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยทั่วไปเบต้ากลูแคนที่มีคุณภาพสูงจะประกอบด้วย
- คาร์โบไฮเดรตไม่น้อยกว่า 80 % (กลูแคนเป็น polyglucose)
- 1,3-d-glucan ไม่น้อยกว่า 85 %
- ไม่มีนำตาลหรือกลูโคสเจือปน
- ตรวจไม่พบไขมันและโปรตีน ไขมันทำ ให้ไม่สามารถย่อยสารช่วยเสริมภูมิคุ้มกัน และโปรตีน อาจมีผลกับผู้ที่เป็นภูมิแพ้
- มีขนาดอนุภาคเฉลี่ย 0-5 ไมครอน (1 ไมครอน เท่ากับ 1 ในล้านเมตร)
- ปลอดจากเชื้อแบคทีเรีย และสารประกอบอื่นๆ ที่ไม่ต้องการ
เม็ดเลือดขาวแข็งแรง เท่ากับ ภูมิคุ้มกันแข็งแรง